วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

ส่วนที่ 5 องค์คณะผู้พิพากษา


ส่วนที่ 5 องค์คณะผู้พิพากษา
1.     องค์คณะผู้พิพากษาศาลแขวง >> มาตรา 26+17+24+25ว.1 : ผู้พิพากษาที่ไม่ใช่ผู้พิพากษาประจำศาลเป็นองค์คณะพิพากษาได้
2.     องค์คณะผู้พิพากษาศาลชั้นต้นนอกจากศาลแขวง และศาลยุติธรรมอื่นๆ
มาตรา 26             หลัก :      1.ผู้พิพากษาอย่างน้อย 2 คน
                                                2. ต้องไม่เป็นผู้พิพากษาประจำศาล เกิน 1 คน
มาตรา 25              หลัก:       แม้ผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น(ยกเว้นศาลแขวง) ใช้อำนาจมาตรา 25(1)-(5) ผู้พิพากษาคนเดียวทำได้ แต่พิพากษาลงโทษได้ไม่เกิน 6 เดือน หรือ 1หมื่นบาท
3.     องค์คณะผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ / อุทธรณ์ภาค / ศาลฎีกา – ผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน (มาตรา 27)
*** คนเดียวสามารถทำตาม มาตรา 24 (1) และ(2) ได้ แต่ไม่มีอำนาจ ตามาตรา 25
“องค์คณะผู้พิพากษา” – จำนวนผู้พิพากษาอย่างน้อยที่ทำหน้าที่ดำเนินกระบวนการพิจารณาคดี / พิพากษาคดี  = การจ่ายสำนวนแก่องค์คณะ มาตรา 32 นั้นเอง
หากเป็นคดีสำคัญอาจตั้งอง๕คณะเกินกว่า 2 คนตามที่ มาตรา 25 กำหนดก็ได้
หากนั่งพิจารณาคดีไม่ครบองค์คณะจะเป็นการขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 236 หหากมีเหตุอื่นที่มิอาจก้าวล่วงได้ตามมาตรา 30 ทำให้ไม่อาจพิจารณาคดีต่อไปได้ ผู้พิพากษาหัวหน้า / อธิบดี /ผู้ทำการแทน มาตรา 28(3) หรือ29(3)  **ศาลแขวงต้องระวังเรื่องอำนาจ**
ศาลจังหวัด มาตรา 26 กำหนดให้มี ผู้พิพากษา 2 คน หากมากกว่ามาตรา 26 ก็ต้องนั่งให้ครบตามที่กำหนด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น