วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556

ส่วนที่ 1 ตำแหน่งและอำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาที่เป็นหัวหน้าและผู้ทำการแทน


ส่วนที่ 1 ตำแหน่งและอำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาที่เป็นหัวหน้าและผู้ทำการแทน

ผู้รับตำแหน่งหัวหน้า และรองหัวหน้า
1.               ตำแหน่งตามมาตรา 8
                ประธานศาลฎีกา                    1 คน
ประธานศาลอุทธรณ์             1 คน
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค      1 คน
อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำ
·        ศาลแพ่ง / กรุงเทพใต้ / ธนบุรี
·        ศาลอาญา / กรุงเทพใต้ / ธนบุรี
·        ศาลยุติธรรมอื่นๆ
·        รองหัวหน้า ศาลต่างๆ คนละ 1 คน
2.               ตำแหน่งตามมาตรา 9
·        ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจัวหวัด / ผู้พิพากษาศาลแขวง ศาลละ 1 คน
·        ส่วนผู้พิพากษาประจำศาล คือ ผู้พิพากษาฝึกหัด
·        ข้อสังเกต : ไม่มีรองผู้พิพากษา

3.               ตำแหน่งมาตรา 13
·        อธิบดีผู้พิพากษาภาค ละ 1 คน ทั้งหมด 9 ภาค
·        รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค ละ 1 คน ทั้งหมด 9 ภาค

©                 ตำแหน่งรองหัวหน้า  -  ศาลละ 1 คน (มาตรา 8  และมาตรา 13)
ข้อยกเว้น                                1. ความจำเป็นเพื่อประโยชน์ทางราชการ และ
                                                2.คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) เห็นชอบ ให้มีรองหัวหน้าศาล ได้มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 6 คน : ศาลฎีกา / ศาลอุทธรณ์ / ศาลอุทธรณ์ภาค / ศาลชั้นต้น

อำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาหัวหน้าศาลต่างๆ
·        มาตรา 11 วรรคหนึ่ง อำนาจหน้าที่ของประธานศาลฎีกา / อุทธรณ์ / อุทธรณ์ภาค / อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น / ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
·        มาตรา 8 และ มาตรา 9 เฉพาะเพียงหัวหน้า
·        ยกเว้น อธิบดีผู้พิพากษาไม่มีอำนาจจ่ายสำนวนคดี มาตรา 32
·        ยกเว้น อธิบดีผู้พิพากษาไม่มีอำนาจเรียกคืนสำนวน หรือโอนคดี มตรา 33
·        อำนาจตามมาตรา 28(3) + มาตรา 29(3) แก้ปัญหาศาลในเขตอำนาจศาลตนโดยเหตุสุดวิสัย หรทอเหตุจำเป็นอันมิอาจก้าวล่วง ซึ่งองค์คณะไม่อาจพิพากษาต่อไปได้
·        อธิบดีผู้พิพากษาภาค มีอำนาจตาม มาตรา 14(2) – สั่งผู้พิพากษา 1 คน ไปทำงานชั่วคราวเขตตนไม่เกิน 3 เดือน โดยได้รับความยินยอมจากศาลนั้น + รายงานศาลฎีกาทันที
1.               เป็นเหตุมีความจำเป็น
2.               ผู้พิพากษาชั่วคราวต้องอยู่ในอำนาจของตน หรือ ช่วยเขตของตน
3.               ผู้พิพากษาที่ถูกสั่งยินยอม
4.               ช่วยงานไม่เกิน 3 เดือน
การเป็นผู้ทำการแทน
1.               ตำแหน่งหัวหน้าว่างลง          >  ตาย / เกษียณ / ลาออก / ปลดออก / ไล่ออก
ไม่อาจปฎิบัติงานได้             >  ป่วย / ลาป่วย / ลากิจ / ลาพัก / ราชการที่อื่น
 ** ให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุด – ทำการแทน
2.               ในกรณีไม่มีผู้ทำการแทน ศาลฎีกาสั่งผู้พิพากษาคนหนึ่งทำแทน (มาตรา 8 วรรคสาม / มาตรา 9 วรรคสาม / มาตรา 13 วรรคสอง)
3.               ผู้พิพากษาอาวุโส + ผู้พิพากษาประจำศาล ไม่สามารถเป็นผู้ทำการแทนได้  (ผลตามากฎหมาย)
·        ผู้พิพากษาอาวุโส – เกษียณแล้ว – ผู้พิพากษาพ้นเกณฑ์ 60 ปี แต่ให้ทำงานต่อถึง 65 ปี
·        ผู้พิพากษาประจำศาล – ผู้พิพากษาเด็ น้อยประสบการณ์ – ข้าราชการตุลาการชั้นต้น เป็นข้าราชการอาวุโสน้อยเพิ่งพ้นภาระผู้ช่วยผู้พิพากษา
อานาจผู้ทำการแทน
1)              มาตรา 11 (1) – (7) **ทุกหัวหน้า ในมาตรา 8,9,13)
2)              อธิบดีผู้พิพากษาภาค             มาตรา 14(1) และ (2)
3)              จากเหตุสุดวิสัยที่มิอาจก้าวล่วงได้       มาตรา 28
4)              อำนาจลงลายมือชื่อเห็นแย้งภายหลงัเมื่อตรวจสำนวน -> ผู้พิพากษาองค์คณะไม่อาจทำได้เนื่องจากเหตุสุดวิสัยอื่นที่มิอาจก้าวล่วงได้                           มาตรา  29               **ยกเว้นอธิบดีผู้พิพากษาผู้พิพากษาภาค
5)              จ่ายสำนวน             มาตรา 32                                **ยกเว้นอธิบดีผู้พิพากษาผู้พิพากษาภาค
6)              เรียกคืนสำนวน     มาตรา 33 วรรคหนึ่ง             **ยกเว้นอธิบดีผู้พิพากษาผู้พิพากษาภาค
7)              รับสำนวน+โอนให้องค์คณะอื่น  มาตรา 33 วรรคสี่          **ยกเว้นอธิบดีผู้พิพากษาผู้พิพากษาภาค
1.               มาตรา 11 “ผู้รับผิดชอบราชการ”  - หัวหน้าศาลต่างๆ
o   มีอำนาจนั่งพิจารณาคดีใดๆได้ทั้งหมด + ต้องร่วมเข้ามาแต่ต้น * เข้ามาภายหลังตามมาตร 28 -31*  มิฉะนั้นต้องทำความเห็นแย้งเท่านั้น -> ไม่มีอำนาจลงลายมือชื่อพิพากษาด้วย
o   หากเข้าพิจารณาพิพากษาต้องระบุตำแหน่งตนเป็นเจ้าของสำนวน หรือ องค์คณะในสำนวนในเวลาจ่ายสำนวนหรือก่อนสืบพยาน
o   อำนาจในการนั่งพิจารณาคดีแทนตามมาตรา 28 ลงลายมือชื่อคำพิพากษา มาตรา 29 ทำได้ต่อเมื่อมีเหตุสุดวิสัยอันมิอาจก้าวล่วง + ผู้พิพากษาในองค์คณะไม่อาจนั่งหรือทำคำพิพากษาได้
o   เหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้จำกัดเพียง มาตรา 30 และมาตรา 31

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น