วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556

ส่วนที่ 2 อำนาจผู้พิพากษาที่เป็นหัวหน้า และผู้ทำการแทน


ส่วนที่ 2 อำนาจผู้พิพากษาที่เป็นหัวหน้า และผู้ทำการแทน
1.       เหตุจำเป็น มาตรา 30 เกิดจากตัวผู้พิพากษาที่เป็นองค์คณะ
·         พ้นจากการดำรงตำแหน่ง
·         ถูกคัดค้านและถอนตัว
·         ไม่อาจปฎิบัติราชการจนไม่สามารถ นั่งหรือทำคำพิพากษาคดีต่อไปได้
2.       เหตุจำเป็น มาตรา 31 เกิดจากอำนาจผู้พิพากษาคนเดียว ตามาตรา 25(3)-(5) ซึ่งกำหนดไว้ตามมาตรา 31
·         มาตรา 31(1) –ไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญายกฟ้องเกินมาตรา 25(5)
·         มาตรา 31(2) – ลงโทษคดีอาญาเกินมาตรา 25(5)
·         มาตรา 31(3) – คำพิพากษา หรือ คำสั่งแพ่ง ทำโดยองค์คณะประกอบด้วยผู้พิพากษาหลายคน + ไม่เห็นด้วยข้างมาก
·         มาตรา 31(4) – พิจารณาคดีแพ่งมาตรา 25(4) ปรากฏราคาทรัพย์สินที่พิพาท หรือจำนวนเงินที่ฟ้องเกินอำนาจผู้พิพากษาคนเดียว
สรุป        1. เป็นเหตุจำเป็นตาม มาตรา 31 และมาตรา 31(1)-(4)
                2. มิอาจก้าวล่วงได้ เกิดระหว่าง
·         พิจารณา (มาตรา 28) หรือ
o    ศาลฎีกา มาตรา 28(1)
o   ศาลอุทธรณ์ / ศาลอุทธรณ์ภาค มาตรา 28(2)
o   ศาลชั้นต้น มาตรา 28(3)
·         ทำคำพิพากษา (มาตรา 29)
o   ศาลฎีกา มาตรา 29(1)
o   ศาลอุทธรณ์ / ศาลอุทธรณ์ภาค มาตรา 29(2)
o   ศาลชั้นต้น มาตรา 29(3)

เปรียบเทียบมาตรา 28 กับ มาตรา 29
มาตรา 28                                                                                                                 มาตรา 29
ว.1           เวลาระหว่างพิพากษา                                                               ว.1           ระหว่างทำคำพิพากษา
ว.2           หัวหน้า / รอง / ผู้พิพากษารับมอบหมาย                                      ว.2           หัวหน้า / รองฯ
ว.3           จาก ว.2 นั่งแทน ผู้พิพากษาเหตุจำเป็น ภายหลังเมื่อตรวจ             ว.3           จาก ว.2 ลงลายมือชื่อทำคำพิพากษาแทนสำนวนนั้น
ข้อสังเกต              รองฯ หัวหน้าล้วนมีอำนาจแก้ปัญหา มิได้กำหนดเฉพาะรองฯที่มีอาวุโสสูงสุด
* กรณีผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 28(3) ไม่อาจมอบหมายให้ “ผู้พิพากษาประจำศาล” ทำหน้าที่
                1. มาตรา 28(3)-(5) คนเดียว เพราะข้อจำกัดตามาตร 25 วรรคสอง
                2. มาตรา 26 ขัดเรื่ององค์คณะผู้พิพากษา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น